B Cell หนึ่งในเซลล์ ที่มีบทบาทสูง ในการปกป้องร่างกายของเรา จากเชื้อโรคและอันตรายต่างๆ ที่เข้าสู่ร่างกายเราได้ รวมถึงการสู้กับไวรัสชนิดต่างๆ เรามาดูขั้นตอนการสร้าง แอนติบอดีจาก B Cell
เซลล์ในระบบภูมิคุ้มกันจะทำงานได้ ก็ต้องอาศัยข้อมูล ซึ่งแหล่งที่มาของข้อมูล ที่ B Cell จะได้รับ ก็มีหลายทาง
- จาก Dendritic cell ที่เป็นเซลล์สำรวจ ไปได้ข้อมูลมา แล้วมาส่งต่อ B Cell
- ได้รับข้อมูลมาจาก Helper T Cell ที่ถูกกระตุ้น แล้วผลิตโปรตีนสื่อสารเรียกว่า Cytokine
- ได้รับมาจาก Macrophage Cell ที่เป็นเซลล์สำรวจ ไปได้ข้อมูลมา แล้วมาส่งต่อ B Cell
- ได้รับมาจาก สารแอนติเจน(Antigen) ของเชื้อโรคเอง มากระตุ้น
- ข้อมูลจาก Memory B Cell เอง
เมื่อ B Cell ได้ข้อมูลเชื้อโรค B Cell ก็จะเปลี่ยนแปลงตัวเอง แบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ
- ส่วนแรกทำหน้าที่เป็น Memory B Cell เพื่อจดจำเชื้อโรคเอาไว้
- กลายเปลี่ยนเป็น Plasma Cell เพื่อผลิตอาวุธโปรตีนที่เรียกว่า แอนติบอดี(Antibody) เพื่อทำหน้าที่จับเชื้อโรคและ แอนติเจนทั่วไป โปรตีนแอนติบอดี แต่ละชนิด จะใช้งานร่วมกันไม่ได้ 1 ชนิด ก็คือ 1 แอนติเจน ที่เรียกว่า ภูมิคุ้มกันแบบจำเพาะ(Specific immunity)
เมื่อมีเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย และเป็นชนิดเดียวกับแอนติบอดีที่มี มันก็จะตรงไปจับกันเลย เมื่อเชื้อโรคและแอนติเจนถูกจับ มันก็ไม่สามารถทำให้เราเกิดเป็นโรคได้ และจะเป็นหน้าที่ของเซลล์ภูมิคุ้มกันอื่นจะ จะเข้ามาทำลายทิ้งต่อไป หนึ่งในเซลล์ภูมิคุ้มกันที่ทำหน้าที่ ทำลายต่อช่วงจาก แอนติบอดี ก็คือ Macrophage Cell นั่นเอง
ปัญหาที่ต้องคิดคือ ทำยังไงร่างกายจึงจะมีข้อมูลเของเชื้อโรค ไว้ใน Memory Cell ให้ได้มากที่สุด เพราะถ้ามีข้อมูลเชื้อโรค ก่อนที่เชื้อโรคมันจะเข้าสู่ร่างกาย เพราะถ้ามีพร้อมเซลล์ระบบภูมิคุ้มกัน ก็จะได้ไม่เสียเวลา ทำความรู้จักกับเชื้อโรคก่อน ซึ่งช่วงเวลานั่นคือ ช่วงเวลาที่เรากำลังป่วยนั่นเอง
สะดวก ซื้อออนไลน์ ส่งไปถึงหน้าบ้าน
(Convenient to buy online and deliver to your home)
โปรตีน PRO TF ลด 750 บาท สั่งซื้ิอ Online |
Transfer Factor Plus ลด 832 บาท สั่งซื้ิอ Online |
|
---|---|---|
Transfer Factor Vista ประหยัดได้ 627 บาท สั่งซื้ิอ Online |
โทร.084 125 0585 | โทร.084 125 0585 |
สั่งซื้อหรือ สมัครเป็นตัวแทนขาย อาหารเสริม โทร. 084 125 0585 |
---|
ฟรี! ค่าส่ง สะดวกสบาย เก็บเงินปลายทาง โดยเคอรี่ รวดเร็ว ทันใจ ได้ใช้เร็ว
0 Comments:
แสดงความคิดเห็น